วันศุกร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2560

เครื่องสับย่อยอเนกประสงค์(ขนาดเล็ก)

สามารถติดตั้งเครื่องยนต์เบนซินขนาด แรง หรือ มอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2-3 แรง 220 v. ได้ระบบ Disc Chipper + Jaw Breaker มี ใบมีดสับ และใบย่อยแบบฟันเลื่อยทำจากเหล็กเกรดพิเศษสามารถสับย่อยกิ่งไม้สดและแห้งได้ ขนาดเส้นผ่าสูงกลาง 50 มม.
เครื่องสับย่อยอเนกประสงค์(ขนาดเล็ก)

ความสามารถในการสับย่อย 300 กก./ชม. ลงมา ขึ้นกับวัสดุและความละเอียดของชิ้นงาน
ขนาดของเครื่อง กxxส (ซม.)102x120x100 น้ำหนักโดยประมา

วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2555

เครื่องสับย่อยอเนกประสงค์(ขนาดเล็ก)

เครื่องสับย่อยอเนกประสงค์(ขนาดเล็ก)
สามารถติดตั้งเครื่องยนต์เบนซินขนาด แรง หรือ มอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2-3 แรง 220 v. ได้
ระบบ Disc Chipper + Jaw Breaker มี ใบมีดสับ และใบย่อยแบบฟันเลื่อยทำจากเหล็กเกรดพิเศษ
สามารถสับย่อยกิ่งไม้สดและแห้งได้ ขนาดเส้นผ่าสูงกลาง 50 มม.
ความสามารถในการสับย่อย 300 กก./ชม. ลงมา ขึ้นกับวัสดุและความละเอียดของชิ้นงาน
ขนาดของเครื่อง กxxส (ซม.)102x120x100 น้ำหนักโดยประมาณ 180 กก.



ร้านสารภีการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 
Tel: 08-9701-5902 ; 08-6422-9489
เป็นผู้แทนจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม อาทิ.. เครื่องสับย่อยอเนกประสงค์  เครื่องย่อยปุ๋ย เครื่องย่อยกิ่งไม้ใบไม้  เครื่องย่อยขยะสด เครื่องตีดิน  เครื่องผสมปุ๋ย  เครื่องผสมดิน  เครื่องรีไซเคิลแก้ว  ปุ๋ยน้ำชีวภาพ  หัวเชื้อจุลินทรีย์ชีวภาพ(Dmx) และรับจัดอบรมทำปุ๋ยอินทรีย์-ชีวภาพแนวใหม่



ดูรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่...
http://www.youtube.com/watch?v=FwcYNQ1qbCo

วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การทำปุ๋ยหมักอินทรีย์-ชีวภาพ จากเศษพืชและขยะสด


การทำปุ๋ยหมักอินทรีย์-ชีวภาพ จากเศษพืชและขยะสด

(สูตรเร่งด่วน-แนวใหม่-หมักวันเดียว-ใช้ได้)
ส่วนผสม
     -  เศษพืชทุกชนิด(ใบไม้/กิ่งไม้/เศษหญ้า/ฟาง)***                                             5 ส่วน(ถุงปุ๋ย)



  •    - ขยะสดทุกชนิด(เศษอาหาร/เศษผัก/เปลือกผลไม้)***                                  5  ส่วน


  •                 ***(เศษพืชและขยะสด ควรตัด/สับ/ย่อยให้ได้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง  0.5 - 1  ..)

    • - มูลสัตว์ หรือ ปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์                                 2    ส่วน

               - แกลบเผา (แกลบดำ)                                                                             1  ส่วน

             - รำละเอียด  และปุ๋ยแร่ธรรมชาติ(แคลเซียม/ฟอสฟอรัส/ซีโอไลท์)     อย่างละ       0.5  -  1  ส่วน

        -น้ำจุลินทรีย์ชีวภาพ + กากน้ำตาล + น้ำ ผสมกันในอัตราส่วน 1 : 1 : 100 (ควรหมักไว้ก่อน 1 – 2 วัน)


    วิธีทำ    - ผสมวัสดุทั้งหมดคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน รดหรือฉีดพ่นด้วยน้ำ จุลินทรีย์ชีวภาพ จนชุ่ม ให้ได้ความชื้นประมาณ 40%  แล้วกองปุ๋ยบนพื้นซีเมนต์ หรือพื้นดินที่ปูด้วยผ้าเต็นท์(ควรทำในที่ร่มหรือโรงปุ๋ย) คลุมกองปุ๋ยด้วยกระสอบปุ๋ย หรือกระสอบป่าน  ใช้เวลาหมัก 1 - 2 วัน จึงนำไปใช้ได้


         - ถ้าไม่นำไปใช้  ควรหมักต่อไปอีก 1 2 สัปดาห์ ปุ๋ยหมักจะแห้ง นำไปย่อยด้วยเครื่องย่อยปุ๋ย จะได้ปุ๋ยหมักที่มีความละเอียดมากขึ้น  นำไปบรรจุถุงปุ๋ย อันเป็นการเพิ่มมูลค่าปุ๋ยหมัก เพื่อการจำหน่ายต่อไป

    วิธีใช้   · นำปุ๋ยหมักไปใช้กับพืชทุกชนิด ในปริมาณ 200 - 300 .. ต่อไร่ หรือตามความเหมาะสม 
              · นำปุ๋ยหมักคลุมแปลงปลูกพืชผัก พืชไร่ ทุกชนิด เพื่อเป็นอาหารต่อเนื่องให้แก่พืช ช่วยรักษาความชุ่มชื้นในแปลง  และป้องกันวัชพืชขึ้นในแปลงผักได้เป็นอย่างดี  หรือใช้ผสมดินรองก้นหลุม ก่อนปลูกไม้ผลหรือไม้ดอกไม้ประดับ.


    กระบวนการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ
    โดยใช้เครื่องย่อยปุ๋ยพืชสด รุ่น 2EMH1
    กระบวนการ
    รายละเอียด
    ผลผลิต(เฉลี่ย)
    การย่อยอินทรียวัตถุ
    - ย่อยกิ่งไม้/ใบไม้/อินทรียวัตถุ(แห้ง)ได้ 1 ตัน/ช.ม.
    - ย่อยขยะสด/เศษพืช(ชุ่มน้ำ) ได้ 0.6 ตัน/ช.ม.
    800 กก./ชม.
    4 ตัน/วัน( 5 ช.ม.)
    การผสมปุ๋ย
    - ผสมอินทรียวัตถุที่ย่อยแล้ว เข้ากับปุ๋ยคอก 20 % พร้อมกับวัสดุผสมปุ๋ย(แกลบดำ รำละเอียด)  และผสมน้ำจุลินทรีย์ชีวภาพ  ให้ได้ความชื้น ~ 40 %
    น้ำหนัก ปุ๋ยคอก+วัสดุผสมปุ๋ย+น้ำจุลินทรีย์ชีวภาพ ~ 1 ตัน
    รวม(เฉลี่ย)
    - คิดมูลค่าปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพที่ได้ ก.ก.ละ 0.60 ฿
    5 ตัน/วัน
    ประมาณค่าใช้จ่ายในการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์-ชีวภาพ  ได้ปุ๋ยหมัก จำนวน 5.0 ตัน/วัน
    ที่
    รายการ
    จำนวนเงิน
    หมายเหตุ
    1
    ค่าน้ำมันดีเซล (สำหรับเครื่องย่อยปุ๋ย)  5 ลิตร @ 30.- ฿
    150
    -
    - ชุมชนจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครและร่วมกัน จัดเตรียมเศษพืช กิ่งไม้ใบไม้ ขยะสดจากครัวเรือน และ จัดหาวัสดุผสม/หมักปุ๋ย
    2
    ค่าหัวเชื้อจุลินทรีย์ชีวภาพDmX  5 ลิตร @ 60.- ฿
    300
    -
    3
    ค่ากากน้ำตาล 10 ลิตร @ 25.-฿
    250
    -
    4
    ค่าวัสดุผสม/หมักปุ๋ย (ปุ๋ยคอก,ปุ๋ยแร่ธรรมชาติ, แกลบดำ,       รำละเอียด ฯลฯ)
    1,500
    -
    5
    ค่าแรงงานทำปุ๋ยชีวภาพ 4 คน @ 200.-฿
    800
    -
    รวมมูลค่าต้นทุนทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    3,000
    -
    - คิดเป็นมูลค่าปุ๋ยหมักชีวภาพ = ก.ก.ละ 0.60 ฿
    ประมาณค่าใช้จ่ายในการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์-ชีวภาพ รอบที่ 2 (ย่อยปุ๋ยครั้งที่ 2 -บรรจุถุง-จำหน่าย)
    ที่
    รายการ
    จำนวนเงิน
    หมายเหตุ
    1
    ค่าน้ำมันดีเซล (สำหรับเครื่องย่อยปุ๋ย)  5 ลิตร @ 30.- ฿
    150
    -
    - คิดเป็นมูลค่าต้นทุนการผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ 5 ตัน = 6,250 บาท  หรือ
    = ก.ก.ละ 1.25 บาท
    - จำหน่ายปุ๋ย 250 กระสอบ กระสอบละ  50 - 60 บาท 
    = รายได้  ~ 12,500 บาท
    = กำไร    ~   50 %
    2
    ค่ากระสอบปุ๋ย พร้อมค่าสกรีนกระสอบปุ๋ย ขนาดบรรจุ กระสอบละ 20 ก.ก.  จำนวน 250 ใบ @ 10.- ฿
    2,500
    -
    3
    ค่าแรงงานย่อยปุ๋ย/บรรจุถุงปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยชีวภาพที่หมักไว้แล้ว 1 2 สัปดาห์)    3 คน @ 200.-฿
    600
    -
    รวมค่าใช้จ่ายในการย่อยปุ๋ย+บรรจุถุงปุ๋ยหมักชีวภาพ
    3,250
    -
    ค่าใช้จ่ายในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ(รอบแรก)
    3,000
    -
    รวมต้นทุนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น(พร้อมจำหน่ายได้)
    6,250
    -

    หมายเหตุ  ปัจจุบัน... เทศบาล/อบต.ส่วนใหญ่ มีค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บขยะไปฝังกลบ เฉลี่ย ก.ก.ละ 2.75 3.00 บาท  หากมีการคัดแยกขยะ ที่เป็นอินทรีย์วัตถุ(เศษพืช/เศษผัก-ผลไม้/กิ่งไม้/ใบไม้/เศษอาหาร) ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 60 - 75  แล้วนำไปทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์-ชีวภาพ  ก็จักได้ปุ๋ยหมัก(ที่ไม่ใช่ขยะ) มีมูลค่าเพิ่ม ก.ก.ละ (2.75+1.25) @ 4.00 5.00 บาท  อีกทั้งเป็นการรักษ์สิ่งแวดล้อม - แก้ปัญหาการเผาขยะ/กิ่งไม้/ใบไม้ ในชุมชน/ท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืน ตลอดไป.

    ร้านสารภีการเกษตรและสิ่งแวดล้อม '  08-9701-5902
    ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรและสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน     '  090-321-7859
    ยินดีให้คำปรึกษาการดำเนินงานโครงการ... ระยะแรก... และ ระยะต่อเนื่อง....  ฟรี!!!